太酷了吧!不說我以為是驚奇隊長剛剛飛過去!
#天文 #太空 #哈伯望遠鏡
同時也有5部Youtube影片,追蹤數超過160萬的網紅ブライトサイド | Bright Side Japan,也在其Youtube影片中提到,2000年2月14日。例年通りのバレンタインデー💝花、甘いもの、2000年代の幕開け…歴史に残りそうな日ですね。宇宙船が惑星エロスとの念願のデート。この「デート」は、エンジン不点火によって誤った軌道にずれて標的を逃したため、危うく実現が不可能になるところでした。しかし、エンジニアはさらに1年、NEA...
「hubble esa」的推薦目錄:
- 關於hubble esa 在 自由時報 Facebook 的精選貼文
- 關於hubble esa 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最讚貼文
- 關於hubble esa 在 寶靈魔法學院 Facebook 的精選貼文
- 關於hubble esa 在 ブライトサイド | Bright Side Japan Youtube 的最佳貼文
- 關於hubble esa 在 ブライトサイド | Bright Side Japan Youtube 的最佳貼文
- 關於hubble esa 在 ブライトサイド | Bright Side Japan Youtube 的最讚貼文
- 關於hubble esa 在 HubbleESA - YouTube 的評價
- 關於hubble esa 在 Hubble Space Telescope - Home | Facebook 的評價
hubble esa 在 มติพล ตั้งมติธรรม Facebook 的最讚貼文
โครงสร้างรอบหลุมดำบริเวณใจกลางของ M87
เมื่อสองปีที่แล้ว ทีมงาน Event Horizon Telescope (EHT) ได้เปิดเผยภาพถ่ายของหลุมดำมวลยิ่งยวด ณ ใจกลางของกาแล็กซี M87 เป็นครั้งแรก ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่เราสามารถทำการสังเกตการณ์มวลสารที่อยู่ในจานพอกพูนมวลรอบหลุมดำได้ (สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ [3])
อย่างไรก็ตาม ภาพของจานพอกพูนมวลรอบหลุมดำ ไม่ได้บอกเรื่องราวทั้งหมดเกี่ยวกับหลุมดำ และแท้จริงแล้วหลุมดำนั้นมีโครงสร้างที่กว้างใหญ่กว่านั้น นอกเหนือไปจากจานพอกพูนมวลไปอีกมาก
วันที่ 14 เมษายน 2021 ที่ผ่านมานี้ ทีมงาน EHT ได้ร่วมมือกับหอสังเกตการณ์ทั้งบนโลกและในอวกาศถึงกว่า 19 แห่ง และได้นำข้อมูลต่างๆ มารวมกัน เพื่อให้ได้ภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้นเกี่ยวกับหลุมดำที่อยู่ ณ ใจกลางของกาแล็กซี M87 นี้ พร้อมทั้งภาพที่บันทึกได้ในช่วงความยาวคลื่นอื่นๆ ที่สามารถบอกให้เราทราบเกี่ยวกับหลุมดำได้ดียิ่งขึ้นไปอีก
หลุมดำ ณ ใจกลางกาแล็กซี M87 นี้ นับเป็นหลุมดำมวลยิ่งยวด ที่มีมวลมากที่สุดหลุมหนึ่งในเอกภพ โดยมีมวลถึงกว่า หกพันห้าร้อยล้านเท่าของมวลดวงอาทิตย์ และอยู่ในใจกลางของกาแล็กซี M87 ที่ห่างออกไป 55 ล้านปีแสง
หลุมดำมวลยิ่งยวดเช่นนี้ จะมีมวลสารของดาวฤกษ์ที่บังเอิญโคจรเข้าไปใกล้เกินไป และถูกฉีกออกเป็นชิ้นๆ โดยแรงไทดัลอันมหาศาล ถูกเหวี่ยงออกไปรอบๆ กลายเป็นแก๊สร้อนที่หมุนวนไปรอบๆ หลุมดำ (คล้ายกับน้ำวนในอ่างอาบน้ำที่ถูกเปิดก๊อกออก) ในลักษณะที่เราเรียกว่าจานพอกพูนมวล (accretion disk) บริเวณของแก๊สร้อนในจานพอกพูนมวลนี้เอง ที่เป็นโครงสร้างที่ใกล้ชิดที่สุดของหลุมดำ ที่เราจะสามารถสังเกตเห็นได้ (ภาพคล้าย "โดนัท" สีส้ม ภาพล่างซ้าย)
แต่ในขณะที่มวลสารกำลังถูกเหวี่ยงและดูดเข้าสู่แรงโน้มถ่วงอันมหาศาลของหลุมดำ ก่อนที่จะตกลงสู่ขอบฟ้าเหตุการณ์ (Event Horizon) มวลสารบางส่วนจะถูก "ดีด" ออก และพุ่งออกไปบริเวณขั้วในการหมุนของจานพอกพูนมวล แก๊สที่พุ่งออกมาในลักษณะคล้ายกับ "เจ็ท" (Astrophysical Jet) นี้นั้น อาจจะประกอบไปด้วยไอออนที่มีประจุ และพุ่งออกมาด้วยความเร็วเข้าใกล้แสง และสามารถพุ่งออกไปเป็นระยะทางหลายพัน แสน หรือถึงล้านพาร์เซค ซึ่งทำให้เจ็ทที่ออกมาจากหลุมดำเหล่านี้นั้น สามารถมีขนาดใหญ่กว่ากาแล็กซีทั้งกาแล็กซีได้เลยทีเดียว
นอกไปจากนี้ พลังงานอันมหาศาลของอนุภาคในเจ็ทเหล่านี้นั้น สามารถเปล่งแสงออกมาในช่วงคลื่นวิทยุ ไปจนถึงรังสีแกมม่า
ซึ่งในภาพที่แนบมานี้ แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างต่างๆ ของเจ็ท ในช่วงความยาวคลื่นวิทยุ (ซ้าย) คลื่นยูวี (กลาง) และรังสีพลังงานสูง เช่น รังสีเอ็กซ์ ไปจนถึงแกมมา (ขวา) ที่ประกอบขึ้นเป็นโครงสร้างขนาดใหญ่ที่ล้อมรอบหลุมดำมวลยิ่งยวดนี้อยู่ ซึ่งทั้งหมดนี้ เราสามารถไปดูในลักษณะของวีดีโอ แสดงเปรียบเทียบขนาดโดยการ "ซูมออก" จากหลุมดำ M87 ได้ที่ [4]
นอกไปจากนี้หลุมดำมวลยิ่งยวดเช่นนี้ อาจจะเป็นแหล่งกำเนิดที่สำคัญของรังสีคอสมิคพลังงานสูง ที่เต็มไปทั่วเอกภพ และกระทบเข้ากับโลกของเราอยู่ตลอดเวลา การศึกษาหลุมดำ M87 ในลักษณะนี้จะช่วยให้นักวิทยาศาสตร์สามารถตอบได้ว่าหลุมดำมวลยิ่งยวดเป็นแหล่งกำเนิดที่สำคัญเพียงใดต่อรังสีคอสมิค
นอกจากหลุมดำจะเป็นสิ่งที่น่าพิศวงของธรรมชาติแล้ว แรงโน้มถ่วงอันมหาศาลของมันยังเปรียบได้กับห้องปฏิบัติการชั้นดีที่เราจะสามารถทดสอบความเข้าใจในทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอสไตน์ได้ การสังเกตการณ์ในลักษณะเช่นนี้ของทีมงาน EHT จะช่วยให้เราสามารถยืนยันความเข้าใจทางทฤษฎีของเราเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วง และสามารถเปรียบเทียบกับสิ่งที่สามารถสังเกตได้จริง ที่กำลังเกิดขึ้น ณ วัตถุที่มีแรงโน้มถ่วงมากที่สุดแหล่งหนึ่งในเอกภพที่สามารถเป็นไปได้ และความเข้าใจนี้เองที่จะเป็นอีกก้าวหนึ่งที่จะนำเราให้เข้าใกล้สู่ความเข้าใจในกฎที่แท้จริงของธรรมชาติอีกก้าวหนึ่ง
ภาพ: The EHT Multi-wavelength Science Working Group; the EHT Collaboration; ALMA (ESO/NAOJ/NRAO); the EVN; the EAVN Collaboration; VLBA (NRAO); the GMVA; the Hubble Space Telescope; the Neil Gehrels Swift Observatory; the Chandra X-ray Observatory; the Nuclear Spectroscopic Telescope Array; the Fermi-LAT Collaboration; the H.E.S.S collaboration; the MAGIC collaboration; the VERITAS collaboration; NASA and ESA. Composition by J. C. Algaba
อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม:
[1] https://eventhorizontelescope.org/blog/telescopes-unite-unprecedented-observations-famous-black-hole
[2] https://iopscience.iop.org/article/10.3847/2041-8213/abef71
[3] https://www.facebook.com/matiponblog/photos/977309255812614
[4] https://www.youtube.com/watch?v=q2u4eK-ph40
hubble esa 在 寶靈魔法學院 Facebook 的精選貼文
NGC 5189: Una nebulosa planetaria inusualmente compleja
NGC 5189 se extiende por unos tres años luz y se encuentra a unos 3.000 años luz de distancia hacia la constelación meridional de la Mosca ( Musca ).
Créditos de imagen: NASA , ESA , Hubble , HLA ; Reprocesamiento y Copyright: Jesús M. Vargas
https://apod.nasa.gov/apod/astropix.html
hubble esa 在 ブライトサイド | Bright Side Japan Youtube 的最佳貼文
2000年2月14日。例年通りのバレンタインデー💝花、甘いもの、2000年代の幕開け…歴史に残りそうな日ですね。宇宙船が惑星エロスとの念願のデート。この「デート」は、エンジン不点火によって誤った軌道にずれて標的を逃したため、危うく実現が不可能になるところでした。しかし、エンジニアはさらに1年、NEARに太陽の周りを回らせて、遂に目的の場所に到達することに成功したのです。
惑星エロスは、宇宙船が周りを旋回している太陽系の中で最も小さな物体です。エロスが特別な理由はこれだけではありません。殆どの惑星は木星と火星の軌道上に存在し、我々から安全な距離を保っています。しかし、エロスは例外。エロスは初の地球近傍小惑星(NEA)となったのです!現在我々は地球にかなり近づいてきたこの惑星を慎重に観察しています!
さて、今回はそんなエロスとその他のびっくり宇宙物体を見ていきましょう😲🌌我々の太陽系を訪れた初の訪問者とは?!
#ブライトサイド
写真出典:
エロスの影: By NASA/JPL/JHUAPL – https://photojournal.jpl.nasa.gov/catalog/PIA02487, Public Domain https://creativecommons.org/publicdomain/zero/1.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=81479327
CC BY 3.0 https://creativecommons.org/licenses/by/3.0:
Fried Egg Nebula: By ESO/E. Lagadec - http://www.eso.org/public/images/eso1136a/, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=16745349
銀河核といて座B2: By ESO/APEX & MSX/IPAC/NASA, https://www.eso.org/public/norway/images/eso0924e/?lang
芸術家によるかに座55番星e: By ESA/Hubble, CC BY 4.0 https://creativecommons.org/licenses/by/4.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=47035551
うみへび座: By Adam Block/Mount Lemmon SkyCenter/University of Arizona - http://www.caelumobservatory.com/gallery/abell33.shtml, CC BY-SA 3.0 us https://creativecommons.org/licenses/by-sa/3.0/us/deed.en, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=20593961
CC BY-SA 4.0 https://creativecommons.org/licenses/by-sa/4.0:
並んだ3つの白いiPhone(左から): 4, 5, 6: By Eric Jiang, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=71762135
開いたファルコンウィングドアのテスラ モデル X P100DL:By Turnstange, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=72862715
惑星エロス復元: By NEAR Project, NLR, JHUAPL, Goddard SVS, NASA, Public Domain https://creativecommons.org/publicdomain/zero/1.0, https://apod.nasa.gov/apod/ap010605.html
NASA Image and Video Library
アニメーションはブライトサイド製作です。
ストックマテリアル (写真、動画など):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru
エピデミックサウンド https://www.epidemicsound.com/
ブライトサイドのチャンネル登録 https://goo.gl/31w525
-------------------------------------------------------------------------------------------
声の提供
さくらい声優事務所
hubble esa 在 ブライトサイド | Bright Side Japan Youtube 的最佳貼文
宇宙においては、点にすぎない光同士の間に広がる漆黒の空間にもちゃんと役割が存在しています。完全な暗闇が、そこに潜む、腹を空かせた恐ろしいブラックホールの姿をとらえづらくしているのです。
仮説上のみに存在するブラックホールの1つが、原始ブラックホール。このブラックホールは宇宙のあらゆる場所に存在し、私たちの太陽から最も近い恒星の間ほどの大きさのクラスターすら存在すると考えらえています。
それ以上に奇妙な点は、これらのブラックホールこそ、長年、天文学者の頭を悩ませてきたダークマターそのものかもしれないのです。天文学者は、ダークマターが宇宙の80%を占める存在だということを理解していますが、その発見には未だ至っていません。そう、つまり私たちが知るブラックホールこそが、このダークマターそのものであった可能性があるのです。
そんなわけはないという話がいくつも生まれる。宇宙空間という場所は、謎に満ちた空間なのです。
#ブライトサイド
写真素材:
Color-composite image of the dwarf galaxy PHL 293B taken with the Hubble Space telescope's Wide Field Camera 3 in 2011: By NASA, ESA/Hubble, J. Andrews (U. Arizona) - https://www.eso.org/public/usa/images/eso2010b/, CC BY-SA 4.0 https://creativecommons.org/licenses/by-sa/4.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=93453528 High-resolution color map of Pluto, including the latest images released on 25 September 2015: By NASA/JPL/SwRI - http://snowfall-the-cat.deviantart.com, CC BY-SA 4.0 https://creativecommons.org/licenses/by-sa/4.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=43386085 NASA Image and Video Library
アニメーション:
Bright Side
ストックマテリアル (写真、動画など):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru
エピデミックサウンド https://www.epidemicsound.com/
ブライトサイドのチャンネル登録 https://goo.gl/31w525
-------------------------------------------------------------------------------------------
声の提供
さくらい声優事務所
hubble esa 在 ブライトサイド | Bright Side Japan Youtube 的最讚貼文
これまでのところ、2020年は今までにないような年となっていますね。時を巻き戻して2019年に戻りたいって思う人もいるかもしれません。ですので2019年がどんなに素晴らしい年だったことを思い出しましょう!本当に、びっくりするような発見や科学的進歩がたくさんあった素晴らしい年だったんです。本当に起こったということが信じられないほど意外な発見もあったんですよ。
例えば、人が突然6本指で生まれるようになっても、脳が簡単に適応することが分かりました。それに、2019年には人間の味覚細胞が研究所で育てられ、それには嗅覚もあることが発見されました。一つ一つの細胞に、人間の鼻の細胞と似た分子がいくつかあったのです。また、地球外でも珍しいことがあったんですよ。天の川銀河の中心で、巨大なブラックホールが普段の2倍の明るさで光りました。2019年はおもしろい年でしたよね!
CC BY 2.0 https://creativecommons.org/licenses/by/2.0:
2019年1月 カナダのヴィクトリアで見えた皆既月食 カナダ、ヴィクトリアのShayne Kayeによるhttps://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=76007776
エマ・ハルカ・イワオ モロッコにて Shayne Kayeによる https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=76007776
最上階からの眺め Raphe Evanoff/Flickrによる https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=77758500
ジェフ・クーンのラビット(1986)パリのポンピドゥーセンターにて Fred Romeroによる https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=84734636
英国博物館のルイス島のチェスの駒 Rob Roy/Flickrによる
https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=15864364
CC BY 4.0 https://creativecommons.org/licenses/by/4.0:
遠いところから撮影した初の月のパノラマ写真 CNSAによる https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=75750075
2019年9月のモザイク遠征 Janek Uinによる https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=84847947
ポーラーシュテルン 氷の前で機器を運ぶ科学者
アーティストによるK2-19b惑星の画像 ESA/Kornmesserによる https://www.spacetelescope.org/news/heic1916, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=82082659
コメット 2I/ボリソフ彗星 ESA/Hubbleによる https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=84957295
インドのマンガロア 4:16 UTC: By Pavansurveによる https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=85264914
CC BY-SA 4.0 https://creativecommons.org/licenses/by-sa/4.0:
2019年3月 ニューヨークのハドソンヤードの開発 https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=77449661
内側からの眺め Stefan Kemmerlingによる https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=79878351
2019年 アストン・マーティンのラピードE アストン・マーティンのラゴンダ工場にて Vauxfordによる https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=81796840
北京の大興国際空港 王之桐による https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=77414409
NASA 画像動画ライブラリー
アニメーションはブライトサイドによる。
ストックマテリアル (写真、動画など):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru
エピデミックサウンド https://www.epidemicsound.com/
ブライトサイドのチャンネル登録 https://goo.gl/31w525
-------------------------------------------------------------------------------------------
声の提供
さくらい声優事務所
hubble esa 在 Hubble Space Telescope - Home | Facebook 的推薦與評價
The Hubble Space Telescope is a collaboration between ESA and NASA. It's a long-term, space-based observatory. The observations are carried out in visible, ... ... <看更多>
hubble esa 在 HubbleESA - YouTube 的推薦與評價
In this Space Sparks episode, ESA/Hubble summarizes an exciting new discovery from the NASA/ESA Hubble Space Telescope. Scientists were expecting to find an ... ... <看更多>